Breaking news-ไทยรัฐออนไลน์

วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554

ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม

ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม
ดัชนีคุฯภาพน้ำ
ค่ามาตรฐาน
วิธีวิเคราะห์
1. pH value
5.5 - 9.0
pH Meter
2. TDS Total Dissolved Solids) ไม่ เกิน 3,000 มก/ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควรแต่ไม่เกิน 5,000 มก./ล. น้ำทิ้งที่จะระบายลงแหล่งน้ำกร่อยที่มีค่าความเค็ม (Salinity) เกิน 2,000 มก./ล. หรือลงสู่ทะเลค่าทีดีเอสในน้ำทิ้งจะมีค่ามากกว่าค่าทีดีเอสที่มีอยู่ในแหล่ง น้ำกร่อยหรือน้ำทะเลได้ไม่เกิน 5,000 มก.ล. ระเหยแห้งที่อุณหภูมิ 103-105oC เป็นเวลา 1 ชั่วโมง
3. Suspended Solids ไม่ เกิน 50 มก./ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม หรือประเภทของระบบบำบัดน้ำเสียตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควรแต่ไม่ เกิน 150 มก./ล. กรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว (Glass Fiber Filter Disc)
4. Temperature
ไม่เกิน 40oC
เครื่องวัดอุณหภูมิ วัดขณะทำการเก็บตัวอย่างน้ำ
5. สีหรือกลิ่น
ไม่เป็นที่พึงรังเกียจ
ไม่ได้กำหนด
6. Sulfide as H2S
ไม่เกิน 1.0 มก./ล.
Titrate
7. Cyanide as HCN
ไม่เกิน 0.2 มก./ล.
กลั่นและตามด้วยวิธี Pydine Barbituric Acid
8. Fat, Oil and Grease ไม่ เกิน 5.0 มก./ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทโรงงานอุตสาหกรรมตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควรแต่ไม่เกิน 15 มก./ล. สกัดด้วยตัวทำละลาย แล้วแยกหาน้ำหนักของน้ำมันและไขมัน
9. Formaldehyde
ไม่เกิน 1.0 มก./ล.
Spectrophotometry
10. Phenols
ไม่เกิน 1.0 มก./ล.
กลั่นและตามด้วยวิธี 4-Aminoantipyrine
11. Free Chlorine
ไม่เกิน 1.0 มก./ล.
Iodometric Method
12. Pesticide
ต้องตรวจไม่พบตามทวิธีตรวจสอบที่กำหนด
Gas-Chromatography
13. Biochemical Oxygen Demand : BOD (5 วันที่อุณหภูมิ 20oC) ไม่ เกิน 20 มก./ล. หรือแตกต่างแล้วแตะละประเภทของแหล่งน้ำรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควร แต่ไม่เกิน 60 มก./ล. Azide Modification ที่อุณหภูมิ 20oC เป็นเวลา 5 วัน
14. TKN (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่ เกิน 100 มด./ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษ เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 200 มก./ล. Kjeldahl
15. COD (Chemical Oxygen Demand) wไม่ เกิน 120 มก./ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษ เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 400 มก./ล. Potassium Dichromate Digestion



16. โลหะหนัก (Heavy Metal)
1. สังกะสี Zn
ไม่เกิน 5.0 มก./ล.
- Atomic Absorption Spectro Photometry ชนิด Direct Aspiration หรือวิธี Plasma Emission Spectroscopy ชนิด Inductively Coupled Plama : ICP
2. โครเมียมชนิดเอ็กซซาวาเล้นท์ Hexavalent Chromium
ไม่เกิน 0.25 มก./ล.

3. โครเมียมชนิดไตรวาเล้นท์ (Trivalent Chromium)
ไม่เกิน 0.75 มก./ล.

4. ทองแดง (Cu)
ไม่เกิน 2.0 มก./ล.

5. แคดเมียม (Cd)
ไม่เกิน 0.03 มก./ล.

6. แบเรียม (Ba)
ไม่เกิน 1.0 มก./ล.

7. ตะกั่ว (Pb)
ไม่เกิน 0.2 มก./ล.

8. นิคเกิล (Ni)
ไม่เกิน 1.0 มก./ล.

9. แมงกานีส (Mn)
ไม่เกิน 5.0 มก./ล.

10. อาร์เซนิค (As)
ไม่เกิน 0.25 มก./ล.
- Atomic Absorption Spectro Photometry ชนิด Direct Aspiration หรือวิธี Plasma Emission Spectroscopy ชนิด Inductively Coupled Plama : ICP
11. เซเลเนียม (Se)
ไม่เกิน 0.02 มก./ล.
- Atomic Absorption Spectro Photometry ชนิด Direct Aspiration หรือวิธี Plasma Emission Spectroscopy ชนิด Inductively Coupled Plama : ICP
12. ปรอท (Hg)
ไม่เกิน 0.005 มก./ล.
- Atomic Absorption Cold Vapour Techique
 
แหล่งที่มา :
ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) 
ลงวันที่ 3 มกราคม 2539   เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจาก
แหล่งกำเนิดประเภทโรงงาน อุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม 
ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนที่ 13 ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2539

1 ความคิดเห็น: